การเขียนแบบวิศวกรรม (Engineering Drawing)



บทนำสู่การเขียนแบบทางวิศวกรรม เครื่องมือเขียนแบบ และการเขียนตัวอักษร เรขาคณิตประยุกต์ ทฤษฎีการฉายภาพและการเขียนแบบออโทกราฟิก การกำหนดขนาดและพิกัดความเผื่อ การเขียนแบบเชิงรูปภาพ ภาพตัดและข้อปฏิบัติ การเขียนรูปช่วยและรูปคลี่ การสเก็ตด้วยมือ การเขียนแบบรายละเอียดและแบบประกอบ เรขาคณิตบรรยายเบื้องต้นและการประยุกต์ การเขียนแบบด้วยคอมพิวเตอร์เบื้องต้น

ช่วงวันอบรม

วันที่ 3 กันยายน – 20 พฤศจิกายน 2565

รูปแบบการอบรม  แบ่งออกเป็นการเรียนภาคบรรยาย และภาคปฏิบัติ

- เรียนภาคบรรยายผ่านระบบ Canvas (Online) ผู้เรียนสามารถจัดสรรเวลาเรียนได้ตามอัธยาศัย

- เรียนภาคปฏิบัติ ณ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วัน-เวลา ทางอาจารย์ผู้สอนจะนัดหมายผู้เรียนและแจ้งให้ทราบในระบบ Canvas

สถานที่ในการอบรม

คณะวิศวกรรมศาสตร์  (อาคารและเลขห้อง ทางคณะจะแจ้งให้ผู้เรียนทราบภายหลัง)

การเก็บคะแนนและสอบวัดผล

ผู้เรียนจะต้องทำ Quiz ณ สถานที่อบรม และนำมาคิดคะแนน และจะมีการสอบประมวลความรู้หลังจากที่เรียนจบแล้ว

 

** ผู้เรียนต้องเลือกวันสอบปลายภาคตั้งแต่ขั้นตอนการสมัครหลักสูตรอบรม **  วิชานี้ไม่มีการสอบกลางภาค

วันที่สอบ  การสอบปลายภาคมี 2 รอบให้ผู้เรียนได้เลือก คือ

รอบที่ 1 : วันที่ 26 พฤศจิกายน 2565

รอบที่ 2 : วันที่ 27 พฤศจิกายน 2565

(อาจารย์ผู้สอนจะแจ้งเวลาสอบให้ผู้เรียนทราบภายหลัง)

สถานที่สอบ  คณะวิศวกรรมศาสตร์ (อาคารและเลขห้อง ทางคณะจะแจ้งให้ผู้เรียนทราบภายหลัง)

 

 

ช่วงวันรับสมัคร
วันเริ่มรับสมัคร 1 ส.ค. 65 เวลา 08:30 น.
วันสิ้นสุดรับสมัคร 31 ส.ค. 65 เวลา 13:00 น.
วันสิ้นสุดชำระค่าสมัคร 1 ก.ย. 65 เวลา 23:59 น.
ช่วงเวลาเรียน
3 ก.ย. 65 เวลา 08:30 น. ถึง 20 พ.ย. 65 เวลา 23:59 น.
อบรมในสถานที่
คณะวิศวกรรมศาสตร์ (อาคารและเลขห้อง ทางคณะจะแจ้งให้ผู้เรียนทราบภายหลัง)
แบ่งออกเป็นการเรียนภาคบรรยาย และภาคปฏิบัติ // ออนไลน์ผ่านระบบ Canvas ผู้เรียนสามารถจัดสรรเวลาเรียนได้เอง ภาคปฏิบัติเรียนที่คณะวิศวกรรมศาสตร์ ตามเวลาที่อาจารย์กำหนด (อาจารย์จะเป็นผู้แจ้งให้ผู้เรียนทราบโดยตรง)
จำนวนรับสมัคร
10 คน
(เปิดอบรมเมื่อมีจำนวนผู้ลงทะเบียนขั้นต่ำ 15 คน โดยนับรวมกับผู้ที่ลงทะเบียนในหลักสูตรการเรียนก้าวหน้าทางวิศวกรรม)
ประเภทหลักสูตร
กำลังโหลดข้อมูล...
ความรู้พื้นฐาน/คุณสมบัติของผู้สมัคร

1. ผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (หรือเทียบเท่า) ที่มีความสนใจด้านวิศวกรรมศาสตร์ 

2. มีผลการเรียนเฉลี่ยสะสมชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-5  (4 เทอม) ไม่ต่ำกว่า 3.25  

3. มีผลการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ หรือ วิชาวิทยาศาสตร์ (วิชาใดวิชาหนึ่ง) ไม่ต่ำกว่า 3.25 

ค่าธรรมเนียมการศึกษา
(ราคานี้รวมค่าบำรุงมหาวิทยาลัยแล้ว)
6,000 บาท
(ไม่รวมค่าบำรุงมหาวิทยาลัย 600 บาท (ยกเว้นค่าบำรุงมหาวิทยาลัยสำหรับนักศึกษา ผู้ปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัย หรือผู้ที่สำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่))
ค่าบำรุงมหาวิทยาลัย
* สำหรับนักศึกษา บุคลากร หรือศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จะยกเว้นค่าบำรุงมหาวิทยาลัย 600 บาท (ยอดชำระ 5,400 บาท)
ส่วนลด
-
เงื่อนไขการรับสมัคร

1. ผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (หรือเทียบเท่า) ที่มีความสนใจด้านวิศวกรรมศาสตร์ 

2. มีผลการเรียนเฉลี่ยสะสมชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-5  (4 เทอม) ไม่ต่ำกว่า 3.25  

3. มีผลการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ หรือ วิชาวิทยาศาสตร์ (วิชาใดวิชาหนึ่ง) ไม่ต่ำกว่า 3.25 

หลักการและเหตุผล

เพื่อให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาการศึกษาได้อย่างต่อเนื่อง รวมถึงเป็นช่องทางในการส่งเสริมและต่อยอดการให้บริการด้านการศึกษาที่มีความยืดหยุ่นและ สอดรับพฤติกรรมผู้เรียนรุ่นใหม่ที่เป็นกลุ่มเป้าหมายหลักของคณะวิศวกรรมศาสตร์ อีกทั้งสามารถนำไปประยุกต์ต่อยอดองค์ความรู้ และสะสมหน่วยกิตเพื่อการเรียนในหลักสูตรวิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

เนื้อหาของหลักสูตร

หลักสูตรนี้มีจำนวนชั่วโมงการเรียนรู้รวม 50 ชั่วโมง แบ่งเป็นภาคบรรยาย 20 ชั่วโมง และภาคปฏิบัติ 30 ชั่วโมง โดยมีหัวข้อการเรียนรู้ 12 หัวข้อ ดังนี้

หัวข้อ
หลักสูตรอบรมฯ
ชั่วโมง
บรรยาย
ชั่วโมง
ปฏิบัติ
หัวข้อ
กระบวนวิชา 259104
ชั่วโมง
บรรยาย
ชั่วโมง
ปฏิบัติ
  1.   แนะนำวิชาและบทเรียนออนไลน์ การใช้อุปกรณ์เขียนแบบ การใช้เครื่องมือวาดรูปเรขาคณิตประยุกต์ 2 3    1.   บทนำสู่การเขียนแบบทางวิศวกรรม เครื่องมือเขียนแบบ และการเขียนตัวอักษร 2 0
  2.   การเขียนภาพฉายออโทกราฟิก 2 3    2.   เรขาคณิตประยุกต์ 2 3
  3.   การให้ขนาดแบบ 1 1.5    3.   ทฤษฎีการฉายภาพและการเขียนแบบออโทกราฟิก 2 3
  4.   การสวมและส่วนเผื่อ 1 1.5    4.   การกำหนดขนาดและพิกัดความเผื่อ 2 3
  5.   การเขียนภาพตัด 2 3    5.   การเขียนแบบเชิงรูปภาพ 2 3
  6.   การเขียนภาพไอโซเมทริก 2 3    6.   ภาพตัดและข้อปฏิบัติ 2 3
  7.   การเขียนภาพออบลิก 1 1.5    7.   การเขียนรูปช่วยและรูปคลี่ 2 3
  8.   การเขียนภาพเปอร์สเปคทีฟ 1 1.5    8.   การสเก็ตด้วยมือ 2 3
  9.   ระนาบช่วยและการหาความยาวจริง 2 3    9.   การเขียนแบบรายละเอียดและแบบประกอบ 2 3
  10.   ขนาดจริงและภาพคลี่ 2 3    10.   เรขาคณิตบรรยายเบื้องต้นและการประยุกต์ 2 3
  11.   การเขียนแบบสั่งงาน 2 3 11. การเขียนแบบด้วยคอมพิวเตอร์เบื้องต้น 2 3
  12. การเขียนแบบด้วยคอมพิวเตอร์ 2 3 - - -
รวม 50 ชั่วโมง 20 30 รวม 52 ชั่วโมง 22 30

การเขียนแบบวิศวกรรม (Engineering Drawing)

Responsive image

อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร

...
ผศ.ดร.จักรพงษ์ จำรูญ
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร

คณะวิศวกรรมศาสตร์
สาขาวิชาวิศวกรรมพื้นฐาน
ช่องทางในการติดต่อสอบถาม
นางเฉลิมพร กุรานา
chalermporn.gurana@cmu.ac.th
053–944179 ต่อ 109
...
หลักสูตรสะสมหน่วยกิต
หลักสูตรที่สามารถสะสมหน่วยกิต เพื่อเทียบโอนเข้ามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ได้
...
การเรียนรูปแบบ Onsite
เป็นหลักสูตรเรียนรู้ในสถานที่

* ไม่สามารถลงทะเบียนหลักสูตรนี้ได้เนื่องจากมีผู้เรียนสมัครและชำระเงินครบตามจำนวนที่เปิดรับ
แนะนำสำหรับคุณ
Card image cap

วันที่รับสมัคร 1 ก.พ. 2567 - 15 มิ.ย. 2567
ภาษาไทย
ราคา 1,800 บาท


เรียนออนไลน์
Card image cap

เปิดรับสมัครวันที่ 1 เม.ย. 2567 - 30 เม.ย. 2567
ภาษาไทย
สะสมหน่วยกิต
ราคา 10,600 บาท


เรียนทั้งออนไลน์
และในสถานศึกษา
Card image cap

วันที่รับสมัคร 25 ธ.ค. 2566 - 2 เม.ย. 2567
ภาษาไทย
รับรองสมรรถนะ
ราคา 4,600 บาท


เรียนออนไลน์
Card image cap

วันที่รับสมัคร 15 พ.ค. 2566 - 30 เม.ย. 2567
ภาษาไทย
สะสมหน่วยกิต
ราคา 5,600 บาท


เรียนออนไลน์